พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
สมเด็จปรกโพธิ์ ...
สมเด็จปรกโพธิ์ รุ่นเสาร์ 5 หลวงพ่อหวล วัดคลองวาฬ อ.เมือง จ.ประจวบ
หลวงพ่อหวล อดีตเจ้าอาวาสวัดคลองวาฬ องค์นี้ละครับที่เป็นศิษย์ หลวงพ่อเปี่ยม วัดเกาะหลัก สำหรับประวัติของหลวงพ่อหวลโดยสังเขป มีดังนี้ครับ
พระราชธรรมาภรณ์ (หวล สุขิโต) เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ ๙ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๒ ถึง พ.ศ.๒๕๒๙ (๓๗ ปี) ประวัติโดยย่อของพระเดชพระคุณ พระราชธรรมาภรณ์ หรือหลวงพ่อหวล มีดังนี้
หลวงพ่อหวลเป็นชาวสามร้อยยอด ครอบครัวมีอาชีพทำนาและเลี้ยงวัว อยู่ที่หมู่ ๒ ตำบลศิลาลอย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๐ ชีวิตในเยาว์วัยศึกษาจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ แล้วช่วยบิดามารดาทำนาและเลี้ยงวัวจนกระทั่งเป็นหนุ่ม เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มท่านชอบการเล่นวัวลานและการชนวัว มีใจนักเลงชนิดไม่ยอมลงให้ใครง่าย ๆ ชีวิตฆราวาสวัยหนุ่มของหลวงพ่อหวลจึงเป็นชีวิตที่เสี่ยงเป็นเสี่ยงตาย
เมื่อท่านอายุครบที่จะบวชได้ บิดามารดาก็หาอุบายที่จะให้ท่านบวชให้ได้ วันและเวลาที่หลวงพ่อหวลบวชนั้น ต้องหลบเลี่ยงเหตุร้ายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ในที่สุดต้องอาศัยช่วงเวลาที่มืดค่ำ ประกอบพิธีอุปสมทบให้ท่าน เมื่อวันที่ ๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๐ ณ วัดวังยาว อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีหลวงพ่อเปี่ยมเจ้าอาวาสวัดเกาะหลักเป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อโถ (พระสุเมธีวรคุณ วัดคลองวาฬ) กับหลวงพ่อเบิ้ม (พระวิริยากรโกศล วัดวังยาว) เป็นพระคู่สวด หลวงพ่อหวลได้รับฉายาว่า สุขิโต ซึ่งแปลว่า ผู้มีความสุขอยู่ในรสพระธรรม
หลวงพ่อเปี่ยมเห็นแววหรือลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งของหลวงพ่อหวล จึงพาหลวงพ่อหวลมาอยู่กับท่านที่วัดเกาะหลัก พระเทพสิทธิวิมล เจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เจ้าอาวาสวัดคลองวาฬรูปปัจจุบัน ได้บอกเล่าในหนังสือ ”พระราชวิสุทธิคุณ หลวงพ่อเอียด สุทนฺโต : พระดี ผู้มีแต่ให้” ไว้ว่า ”พอบวชเสร็จ หลวงพ่อเปี่ยมพระอุปัชฌาย์ก็เอาหลวงพ่อหวลมาที่วัดเกาะหลักด้วย ท่านบอกว่านี่แหละช้างเผือก หลวงพ่อหวลจึงได้มาอยู่ที่วัดเกาะหลัก มาปฏิบัติหลวงพ่อเปี่ยม” ซึ่งก็หมายความว่า หลวงพ่อเปี่ยมชอบคนใจนักเลงจึงได้ขอพาหลวงพ่อหวลไปอยู่กับท่าน หลวงพ่อหวลเป็นที่โปรดปรานของหลวงพ่อเปี่ยม เรียกได้ว่า นี่แหละศิษย์เอกของหลวงพ่อเปี่ยม ในขณะที่อยู่กับหลวงพ่อเปี่ยมนั้นหลวงพ่อหวลก็ได้ศึกษาวิชาอาคมคาถาต่าง ๆ จากหลวงพ่อเปี่ยมเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้นท่านยังได้รับผงพระสมเด็จวัดระฆังฯ จากหลวงพ่อเปี่ยม (ซึ่งเมื่อท่านนำผงพระสมเด็จวัดระฆังฯ นั้นมาเป็นมวลสารในการทำพระสมเด็จกรุวัดคลองวาฬพิมพ์ต่าง ๆ ก็เป็นที่โด่งดังมากในวงการนักนิยมพระเครื่อง)
ต่อมา ชาวคลองวาฬได้พากันไปขอหลวงพ่อหวลจากหลวงพ่อเปี่ยม เพราะวัดคลองวาฬช่วงนั้นขาดแคลนพระที่มีความรู้ความสามารถเป็นครูสอนนักธรรม หลวงพ่อหวลจึงได้ย้ายมาอยู่ที่วัดคลองวาฬ เป็นครูสอนนักธรรมและช่วยเหลือทำงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายหรือเห็นสมควรช่วยเหลือมาตลอด จนกระทั่งได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าอาวาส เป็นระยะเวลาถึง ๙ ปีก่อนที่หลวงพ่อโถจะย้ายไปเป็นเจ้าอาวาสวัดเกาะหลัก และดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
เมื่อหลวงพ่อโถย้ายไปอยู่ที่วัดเกาะหลัก หลวงพ่อหวลก็ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดคลองวาฬ และเป็นพระฐานานุกรมที่พระปลัดของเจ้าคณะอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์อีกด้วย วัดคลองวาฬภายใต้การปกครองและการพัฒนาของหลวงพ่อหวลมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับ ประชาชนก็เคารพเลื่อมใสหลวงพ่อหวลเป็นอย่างยิ่ง เพราะหลวงพ่อหวลมีปฏิปทาแบบสมถะใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย ปี พ.ศ.๒๔๗๖ หลวงพ่อหวลได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูศรัทธาโศภิต และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๐ เมื่อพระสุเมธีวรคุณ (หลวงพ่อโถ) มรณภาพ หลวงพ่อหวลก็ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามที่ปฏิบัติกันมานั้นเจ้าคณะจังหวัดจะอยู่วัดเกาะหลักพระอารามหลวง แต่หลวงพ่อหวลยินดีที่จะอยู่เป็นเจ้าคณะจังหวัดที่วัดคลองวาฬ ซึ่งในขณะนั้นวัดคลองวาฬยังเป็นวัดราษฎร์ มิใช่พระอารามหลวงดังเช่นปัจจุบัน เพราะท่านดำรงชีวิตสมถะเรียบง่ายและเอื้ออารีต่อสัตว์โดยเฉพาะสุนัข ภาพของท่านที่มักจะปรากฏแก่คนทั่วไป คือแบกจอบเล่มหนึ่ง เดินดูบริเวณวัด หากพบมูลสุนัข (ขี้หมา) ก็จะกลบฝัง ประชาชนหรือแม้กระทั่งพระอาคันตุกะที่มาหาท่านก็มักจะพบเจอท่านในลักษณะเช่นนี้อยู่เสมอ
เล่ากันว่า ครั้งหนึ่งมีพระจากต่างจังหวัดเดินทางมาวัดคลองวาฬ เพื่อติดต่อธุระกับหลวงพ่อหวลในฐานะเจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อเข้ามาในวัดคลองวาฬแล้ว ได้พบหลวงพ่อหวลในขณะกำลังแบกจอบยืนดูบริเวณวัด พระอาคันตุกะเข้าใจว่าท่านเป็นพระหลวงตา (ลูกวัด) เท่านั้น จึงถามว่าเจ้าคณะจังหวัดอยู่ไหม หลวงพ่อหวลก็ตอบว่าอยู่ ไปคอยที่กุฏิรับรองแขกโน้นซิ สักพักหนึ่งหลวงพ่อหวลก็ขึ้นไปบนกุฏิรับรองแขก แล้วก็บอกกล่าวกะพระอาคันตุกะว่า นี่แหละเจ้าคณะจังหวัดล่ะ มีธุระอะไร พระอาคันตุกะรูปนั้นรีบกราบขอโทษท่านก่อนที่จะบอกกล่าวถึงธุระของตน ซึ่งหลวงพ่อหวลก็ไม่ถือสาหาความแต่อย่างใด
ผู้เข้าชม
4321 ครั้ง
ราคา
โชว์พระ
สถานะ
ยังอยู่
โดย
pratharn_p
ชื่อร้าน
ฟ้าประทาน
ร้านค้า
pratharn.99wat.com
โทรศัพท์
0848326161
ไอดีไลน์
zte.pratharn
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน
พระกริ่งวัดไผ่ล้อม อ-บ้านค่าย
พระกรุวัดอัมพวัน นครนายก
เหรียญพระแก้วมรกต รุ่น รวมพุทธ
หนุมานชนะภัย ปี 52 หลวงพ่อวัดเ
พระกรุวัดนางตรา พิมพ์จิ๋ว จังห
พระปิดตาพิมพ์สุรพล หลวงพ่อเปี่
หลวงพ่อศิลาขาว หลวงพ่อเต๋ คงทอ
พระปิดตาหลวงปู่ธูป วัดแคนางเลิ
พระประธานพร ภูทราวดี ปี พ-ศ-25
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ว.ศิลป์สยาม
เจริญสุข
ยอด วัดโพธิ์
TotoTato
น้ำตาลแดง
kumpha
termboon
พีพีพระสมเด็จ
ภูมิ IR
Nithiporn
ep8600
nattapong939
digitalplus
ขวัญเมือง
Poosuphan89
tintin
fuchoo18
Achi
ชาวานิช
tumlawyer
Muthita
เทพจิระ
พีพีพระเครื่อง
โกหมู
อ้วนโนนสูง
NongBoss
ยุ้ย พลานุภาพ
หริด์ เก้าแสน
poosit555
sailom.si
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1560 คน
เพิ่มข้อมูล
สมเด็จปรกโพธิ์ รุ่นเสาร์ 5 หลวงพ่อหวล วัดคลองวาฬ อ.เมือง จ.ประจวบ
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
สมเด็จปรกโพธิ์ รุ่นเสาร์ 5 หลวงพ่อหวล วัดคลองวาฬ อ.เมือง จ.ประจวบ
รายละเอียด
หลวงพ่อหวล อดีตเจ้าอาวาสวัดคลองวาฬ องค์นี้ละครับที่เป็นศิษย์ หลวงพ่อเปี่ยม วัดเกาะหลัก สำหรับประวัติของหลวงพ่อหวลโดยสังเขป มีดังนี้ครับ
พระราชธรรมาภรณ์ (หวล สุขิโต) เป็นเจ้าอาวาสรูปที่ ๙ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๒ ถึง พ.ศ.๒๕๒๙ (๓๗ ปี) ประวัติโดยย่อของพระเดชพระคุณ พระราชธรรมาภรณ์ หรือหลวงพ่อหวล มีดังนี้
หลวงพ่อหวลเป็นชาวสามร้อยยอด ครอบครัวมีอาชีพทำนาและเลี้ยงวัว อยู่ที่หมู่ ๒ ตำบลศิลาลอย อำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ท่านเกิดเมื่อวันที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๖๐ ชีวิตในเยาว์วัยศึกษาจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ แล้วช่วยบิดามารดาทำนาและเลี้ยงวัวจนกระทั่งเป็นหนุ่ม เมื่อเข้าสู่วัยหนุ่มท่านชอบการเล่นวัวลานและการชนวัว มีใจนักเลงชนิดไม่ยอมลงให้ใครง่าย ๆ ชีวิตฆราวาสวัยหนุ่มของหลวงพ่อหวลจึงเป็นชีวิตที่เสี่ยงเป็นเสี่ยงตาย
เมื่อท่านอายุครบที่จะบวชได้ บิดามารดาก็หาอุบายที่จะให้ท่านบวชให้ได้ วันและเวลาที่หลวงพ่อหวลบวชนั้น ต้องหลบเลี่ยงเหตุร้ายที่อาจจะเกิดขึ้นได้ ในที่สุดต้องอาศัยช่วงเวลาที่มืดค่ำ ประกอบพิธีอุปสมทบให้ท่าน เมื่อวันที่ ๓ เดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๐ ณ วัดวังยาว อำเภอกุยบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีหลวงพ่อเปี่ยมเจ้าอาวาสวัดเกาะหลักเป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อโถ (พระสุเมธีวรคุณ วัดคลองวาฬ) กับหลวงพ่อเบิ้ม (พระวิริยากรโกศล วัดวังยาว) เป็นพระคู่สวด หลวงพ่อหวลได้รับฉายาว่า สุขิโต ซึ่งแปลว่า ผู้มีความสุขอยู่ในรสพระธรรม
หลวงพ่อเปี่ยมเห็นแววหรือลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งของหลวงพ่อหวล จึงพาหลวงพ่อหวลมาอยู่กับท่านที่วัดเกาะหลัก พระเทพสิทธิวิมล เจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เจ้าอาวาสวัดคลองวาฬรูปปัจจุบัน ได้บอกเล่าในหนังสือ ”พระราชวิสุทธิคุณ หลวงพ่อเอียด สุทนฺโต : พระดี ผู้มีแต่ให้” ไว้ว่า ”พอบวชเสร็จ หลวงพ่อเปี่ยมพระอุปัชฌาย์ก็เอาหลวงพ่อหวลมาที่วัดเกาะหลักด้วย ท่านบอกว่านี่แหละช้างเผือก หลวงพ่อหวลจึงได้มาอยู่ที่วัดเกาะหลัก มาปฏิบัติหลวงพ่อเปี่ยม” ซึ่งก็หมายความว่า หลวงพ่อเปี่ยมชอบคนใจนักเลงจึงได้ขอพาหลวงพ่อหวลไปอยู่กับท่าน หลวงพ่อหวลเป็นที่โปรดปรานของหลวงพ่อเปี่ยม เรียกได้ว่า นี่แหละศิษย์เอกของหลวงพ่อเปี่ยม ในขณะที่อยู่กับหลวงพ่อเปี่ยมนั้นหลวงพ่อหวลก็ได้ศึกษาวิชาอาคมคาถาต่าง ๆ จากหลวงพ่อเปี่ยมเป็นจำนวนมาก นอกจากนั้นท่านยังได้รับผงพระสมเด็จวัดระฆังฯ จากหลวงพ่อเปี่ยม (ซึ่งเมื่อท่านนำผงพระสมเด็จวัดระฆังฯ นั้นมาเป็นมวลสารในการทำพระสมเด็จกรุวัดคลองวาฬพิมพ์ต่าง ๆ ก็เป็นที่โด่งดังมากในวงการนักนิยมพระเครื่อง)
ต่อมา ชาวคลองวาฬได้พากันไปขอหลวงพ่อหวลจากหลวงพ่อเปี่ยม เพราะวัดคลองวาฬช่วงนั้นขาดแคลนพระที่มีความรู้ความสามารถเป็นครูสอนนักธรรม หลวงพ่อหวลจึงได้ย้ายมาอยู่ที่วัดคลองวาฬ เป็นครูสอนนักธรรมและช่วยเหลือทำงานอื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมายหรือเห็นสมควรช่วยเหลือมาตลอด จนกระทั่งได้รับแต่งตั้งเป็นรองเจ้าอาวาส เป็นระยะเวลาถึง ๙ ปีก่อนที่หลวงพ่อโถจะย้ายไปเป็นเจ้าอาวาสวัดเกาะหลัก และดำรงตำแหน่งเจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
เมื่อหลวงพ่อโถย้ายไปอยู่ที่วัดเกาะหลัก หลวงพ่อหวลก็ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสวัดคลองวาฬ และเป็นพระฐานานุกรมที่พระปลัดของเจ้าคณะอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์อีกด้วย วัดคลองวาฬภายใต้การปกครองและการพัฒนาของหลวงพ่อหวลมีความเจริญรุ่งเรืองตามลำดับ ประชาชนก็เคารพเลื่อมใสหลวงพ่อหวลเป็นอย่างยิ่ง เพราะหลวงพ่อหวลมีปฏิปทาแบบสมถะใช้ชีวิตแบบเรียบง่าย ปี พ.ศ.๒๔๗๖ หลวงพ่อหวลได้รับพระราชทานสมณศักดิ์เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูศรัทธาโศภิต และได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะอำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๑๐ เมื่อพระสุเมธีวรคุณ (หลวงพ่อโถ) มรณภาพ หลวงพ่อหวลก็ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ตามที่ปฏิบัติกันมานั้นเจ้าคณะจังหวัดจะอยู่วัดเกาะหลักพระอารามหลวง แต่หลวงพ่อหวลยินดีที่จะอยู่เป็นเจ้าคณะจังหวัดที่วัดคลองวาฬ ซึ่งในขณะนั้นวัดคลองวาฬยังเป็นวัดราษฎร์ มิใช่พระอารามหลวงดังเช่นปัจจุบัน เพราะท่านดำรงชีวิตสมถะเรียบง่ายและเอื้ออารีต่อสัตว์โดยเฉพาะสุนัข ภาพของท่านที่มักจะปรากฏแก่คนทั่วไป คือแบกจอบเล่มหนึ่ง เดินดูบริเวณวัด หากพบมูลสุนัข (ขี้หมา) ก็จะกลบฝัง ประชาชนหรือแม้กระทั่งพระอาคันตุกะที่มาหาท่านก็มักจะพบเจอท่านในลักษณะเช่นนี้อยู่เสมอ
เล่ากันว่า ครั้งหนึ่งมีพระจากต่างจังหวัดเดินทางมาวัดคลองวาฬ เพื่อติดต่อธุระกับหลวงพ่อหวลในฐานะเจ้าคณะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เมื่อเข้ามาในวัดคลองวาฬแล้ว ได้พบหลวงพ่อหวลในขณะกำลังแบกจอบยืนดูบริเวณวัด พระอาคันตุกะเข้าใจว่าท่านเป็นพระหลวงตา (ลูกวัด) เท่านั้น จึงถามว่าเจ้าคณะจังหวัดอยู่ไหม หลวงพ่อหวลก็ตอบว่าอยู่ ไปคอยที่กุฏิรับรองแขกโน้นซิ สักพักหนึ่งหลวงพ่อหวลก็ขึ้นไปบนกุฏิรับรองแขก แล้วก็บอกกล่าวกะพระอาคันตุกะว่า นี่แหละเจ้าคณะจังหวัดล่ะ มีธุระอะไร พระอาคันตุกะรูปนั้นรีบกราบขอโทษท่านก่อนที่จะบอกกล่าวถึงธุระของตน ซึ่งหลวงพ่อหวลก็ไม่ถือสาหาความแต่อย่างใด
ราคาปัจจุบัน
โชว์พระ
จำนวนผู้เข้าชม
4379 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
pratharn_p
ชื่อร้าน
ฟ้าประทาน
URL
http://www.pratharn.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0848326161
ID LINE
zte.pratharn
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
ยังไม่ส่ง ข้อมูลยืนยันตัวตน
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี